เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง

เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง

เป็นเรื่องราวที่ถูกพูดถึงกันอย่างมากบนโลกออนไลน์ เมื่อทางเพจเฟซบุ๊ก ทนายคู่ใจ และ สายตรงกฏหมาย ได้มีการพูดถึงเรื่องราวข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับการมาสายที่บอกเลยว่าลูกจ้างทุกคนนั้นควรจะรู้ไว้เพื่อไม่ให้ถูกนายจ้างของตัวเองเอาเปรียบแต่อย่างใด ซึ่งในกฎหมายนั้นก็มีการระบุไว้ว่า เป็นกฎหมายสำหรับคุ้มครองผู้ที่มาสาย โดยจะมีอะไรบ้างนั้นลองตามดูกันเลย

 

เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง

 

1. นายจ้างหักเงินค่าจ้าง จากเหตุมาสายไม่ได้ ผิดกฎหมายแรงงาน

2. มาสาย 5 นาทีจะมาลงว่าเรามาสาย 30 นาทีไม่ได้ สายเท่าไรลงเท่านั้นเพราะมันมีผลต่ออัตราเงินเดือน จะมาหักเรา 30 นาทีไม่ได้

3. มาสาย 3 วันหัก 1 วัน แบบนี้ก็ทำไม่ได้ผิดกฎหมายแรงงาน

4. มาสายแล้วไล่ออกเลยก็ไม่ได้ ถ้าจะไล่ออกต้องทำหนังสือเตือนมาตามแต่ระเบียบของบริษัทจะประกาศไว้

5. มาสายแล้วบังคับทำโอที อันนี้ก็ไม่ได้ เพราะโอทีคือความสมัครใจของลูกจ้าง

6. มาสายแล้วต้องโดนทำโทษ มันไม่มีเหมือนสมัยเรียน

 

เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง

 

นอกจากนี้พรบคุ้มครองแรงงานตามมาตรา 76 ก็ยังมีการระบุไว้อีกว่า ห้ามมิให้นายจ้างหักค่าจ้าง นายจ้างจะหักค่าจ้างได้กรณีดังนี้

– หักภาษีหรือชำระเงินอื่นๆ ที่กฎหมายกำหนด

– หักค่าสหภาพ

– ชำระหนี้สหกรณ์

– หักเงินประกันบางประเภท หรือหักค่าเสียหายโดยลูกจ้างต้องยินยอม

– หักเงินสะสม

 

เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง

 

แต่ในทั้งนี้ ทางนายจ้างนั้นอาจจะใช้สิทธิ์เลือกวิธี No work No Payคือถ้าคุณไม่ทำงานฉันก็จะไม่จ่ายเงินคุณซึ่งนั่นก็ถือว่าเป็นสิทธิของนายจ้างที่จะทำได้ด้วยเช่นกันโดยเป็นการคำนวณสะสมระยะเวลาในการมาสายแต่ละเดือนว่ารวมแล้วคุณมาสายกี่ชั่วโมงและนำมาคำนวณเวลาที่หายไปของลูกจ้างต่ออัตราค่าจ้างเฉลี่ยต่อชั่วโมงเป็นต้นซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีหนึ่งที่นายจ้างจะสามารถออกมาใช้เล่นงานกับลูกน้องจะมาสายได้ด้วย

 

เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง


ไม่มีการระบุไว้ว่า พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 76 ห้ามมิให้นายจ้างหักค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด เว้นแต่เป็นการหักเพื่อ มาตรา 144 นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

 

เตือนห้ามนายจ้าง หักเงินลูกน้องมาสาย ฝ่าฝืนระวังโทษร้ายแรง


อย่างไรก็ตาม การไปรับซื้องาหาคุณตั้มคนไหนนะไม่ได้รับความเป็นธรรมก็สามารถติดต่อร้องเรียนไปได้กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงานได้เลยโดยถ้าหากทางนายจ้างฝ่าฝืนก็จะมีโทษสูงสุดคือจำคุก 6 เดือนปรับอีก 1 แสนบาทตามมาตรา 144 นั่นเอง