หนุ่มทุ่มสุดตัวพิสูจน์ให้เห็น จับงูมากัดตัวเอง พร้อมชี้แจง ถ้าเจอห้ามตี จะเกิดผลร้ายตามมาน่ากลัวกว่าที่คิด

หนุ่มทุ่มสุดตัวพิสูจน์ให้เห็น จับงูมากัดตัวเอง พร้อมชี้แจง ถ้าเจอห้ามตีเด็ดขาดจะเกิดผลร้ายตามมาน่ากลัวกว่าที่คิด

เรื่องราวที่หลายคนยังไม่เคยรู็เกี่ยวกับเจ้างูชนิดนี้ นั่นคืองูแสงอาทิตย์ ซึ่งผู้ใช้เฟซบุ๊ก "Nick Chomngam" ได้ออกมาโพสต์ข้อความโดยมีเนื้อหาดังนี้

 

หนุ่มทุ่มสุดตัวพิสูจน์ให้เห็น จับงูมากัดตัวเอง พร้อมชี้แจง ถ้าเจอห้ามตี จะเกิดผลร้ายตามมาน่ากลัวกว่าที่คิด

 

 

หนุ่มทุ่มสุดตัวพิสูจน์ให้เห็น จับงูมากัดตัวเอง พร้อมชี้แจง ถ้าเจอห้ามตี จะเกิดผลร้ายตามมาน่ากลัวกว่าที่คิด

หนุ่มทุ่มสุดตัวพิสูจน์ให้เห็น จับงูมากัดตัวเอง พร้อมชี้แจง ถ้าเจอห้ามตี จะเกิดผลร้ายตามมาน่ากลัวกว่าที่คิด

 

งูแสงอาทิตย์ (อังกฤษ: Sunbeam snake) เป็นงูไม่มีพิษ มีลำตัวยาวทรงกระบอก หัวแบนเรียว ตามีขนาดเล็ก ลำตัวมีความยาวประมาณ 120 เซนติเมตร ลำตัวสีดำถึงสีน้ำตาลเข้ม ส่วนท้องมีสีขาว ส่วนหัวแบนเรียว ตาเล็ก ลักษณะเด่นคือเกล็ดลำตัวเรียบเป็นเงาแวววาบสะดุดตาเมื่อสะท้อนแสงแดด อันเป็นที่มาของชื่อ พบได้ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยไม่มีชนิดย่อย ตัวอย่างต้นแบบแรกพบที่ชวา จัดเป็นงูโบราณจากลักษณะที่ยังคงปอดทั้งสองข้างเอาไว้ ซึ่งงูทั่วไปจะเหลือปอดซ้ายเพียงข้างเดียวเพื่อความสะดวกในการเก็บปอดภายในลำตัวแคบๆ ยาว ๆ มักพบเห็นได้ในพื้นที่ที่มีกิ้งก่า, กบ, หนู และสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ซึ่งเป็นอาหาร รวมถึงกินงูด้วยกันชนิดอื่น เช่น ลูกงูเห่า[5] เป็นอาหารได้ด้วย เป็นงูที่มีพละกำลังพอสมควร เมื่อพบเหยื่อจะจัดการเหยื่อด้วยการรัดให้หมดแรงและค่อย ๆ กลืนลงไป

มักอาศัยอยู่ใต้ขอนไม้หรือก้อนหินที่เป็นดินร่วนและมีความชื้นเล็กน้อย ยามน้ำท่วมสามารถปีนขึ้นที่สูง เช่น ต้นไม้ หรือขื่อคาบ้านเพื่อหนีน้ำได้

หนุ่มทุ่มสุดตัวพิสูจน์ให้เห็น จับงูมากัดตัวเอง พร้อมชี้แจง ถ้าเจอห้ามตี จะเกิดผลร้ายตามมาน่ากลัวกว่าที่คิด

งูแสงอาทิตย์มักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นงูพิษร้ายแรง มีความดุร้าย ที่เมื่อถูกกัดแล้วจะตายเพื่อพระอาทิตย์ขึ้น ซึ่งไม่เป็นความจริง แท้จริงแล้วงูแสงอาทิตย์เป็นงูที่เชื่องช้าและไม่มีพิษ เมื่อเผชิญหน้ากับมนุษย์จะไม่แสดงท่าทีดุร้าย แต่จะหมอบอยู่นิ่ง ๆ ทำตัวแบนราบกับพื้น หรือไม่ก็เลื้อยหนีไป อาจจะมีขู่บ้างทำให้ดูคล้ายงูเห่า แต่ไม่กัด

วางไข่ไว้ตามใต้เศษใบไม้แห้งที่ชื้น ๆ เพื่ออาศัยความร้อนจากขบวนการย่อยสลายซากใบไม้ในการฟักไข่ ใช้เวลานานประมาณ 3 เดือน ซึ่งนานพอที่จะให้พัฒนาการของตัวอ่อนในไข่กลายเป็นงูวัยอ่อนได้โดยสมบูรณ์ เมื่อฟักออกมาลูกงูมีลักษณะเหมือนงูตัวเต็มวัยทุกประการ เว้นแต่จะมีรอบคอเป็นสีขาวซึ่งแตกต่างจากงูตัวโตเต็มวัย