"สทนช."เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

"สทนช."รายงานสถานการณ์น้ำล่าสุด พร้อมเตือน 10 จังหวัด ให้เสี่ยงอุทกภัย เตรียมขนของขึ้นที่สูง คาดน้ำเพิ่่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

"สทนช."แถลงการณ์สถานการณ์น้ำประจำวัน ประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2567 คาดการณ์ว่า


1.คาดการณ์ปริมาณฝน : ช่วงวันที่ 6 - 7 ต.ค. 67 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนจะแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอบบน ส่งผลทำให้ร้องมรสุมรสุมจะเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคใต้ตอนบน และอ่ะอ่าวไทยตอบน ประกอบกับลมตะวันออกพัดปกคลุมอ่าวไทยตอนล่าง และภาคใต้ตอนล่าง ทำให้ประเทศไทยตอนบนมีฝนลดลง แต่ยังคงมีฝนตกหนักบางแห่งในของภาคเหนือด้านตะวันตก ภาคกลางตอนล่าง และภาคตะวันออก และมีฝนตกหนักมากบางพื้นที่ในภาคใต้ และในช่วงวันที่ 8 - 10 ต.ค. 67 บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็น ประกอบกับร่องมรสุมและมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทำให้ประเทศไทยตอนบนมีฝนเพิ่มขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคกลางตอนล่าง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมแมฑล ภาคตะวันออก และวาคใต้

 

\"สทนช.\"เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

2.อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่ต้องเฝ้าระวัง เนื่องจากมีปริมาณน้ำมากกว่าเกณฑ์เก็บกักสูงสุด ได้แด้แก่ อ่างเก็บน้ำแม่งัดสมบูรณ์ จ.เชียงใหม่ อ่างเก็บน้ำกิ้วคอหมา อ่างเก็บน้ำกิวลม จ.ลำปาง อ่างเก็บน้ำห้วยหลวง จ.อุดรธรธานีอ่างเก็บน้ำอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น และอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา จ.ปราจีนบุรี ซึ่ง สทนช. ได้มีการแนะนำให้มีการพร่องน้ำเพื่อรองรับปริมาณน้ำในเดือนกันยายน และตุลาคม โดยให้พิจารณาไม่ให้ส่งผลกระทบต่อประชาชนพื้นที่ท้ายน้ำ

3.คาดการณ์สถานการณ์น้ำที่สำคัญ

3.1 สถานการณ์น้ำแม่น้ำโขงเหนือ ปัจจจุบันสถานการณ์แม่น้ำโขงภายในประเทศและแม่น้ำโขงโขงเหนือสายหลัก รวมถึงแม่นำกก แม่นำอิง อยในสภาวะปกติเกือบทั้งหมด ยกเว้นบริเวณแม่น้ำกกกที่สถานีบ้านต้นยางอ.แม่ลาว จ.เชียงราย มีระดับน้ำ 4.05 ม. (สูงกว่าตลิ่ง 0.05 ม.) มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ฝนตกหนักในพื้นที่ประเทศพม่า อ.แม่สาย ส่งผลทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลาก พื้นที่ อ.แม่สาย และยังมีพื้นที่น้ำท่วมลุ่มต่ำใน อ.เมืองฯ เวียงป่าเป้า แม่สาย และแม่ลาว

 

\"สทนช.\"เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

 

3.2 สถานการณ์น้ำแม่น้ำปิง สถานการณ์น้ำบริเวณ สถานี P.1 สะพานนวรัฐ อเมือง จ.เชียงใหม่ ระดับน้ำ 5.29 ม. สูงกว่าระดับตลิง 1.59 ม. (ระดับตลิง 3.70 ม.) ระดับน้ำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมืองจากปริมาณฝน จากการคาดการณ์พบว่า ปริมาณน้ำจะสูงสุดวันที่ 6 ต.ต.ค. 67 โดยจะสูงกว่าตลิ่งประมาณ 2.10 - 2.50 ม. หรือสูงกว่าแนวตลิ่งชั่วคราว ประมาณ 1.60 - 2.00 ม. และจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติในวันที่ 9 ต.ค. 67 ปัจจุบันเชื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล มีปริมาณน้ำ 265 ล้าน ลบ.ม. (11396 ของความจุอ่างฯ) ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาได้ช่วยหน่วงน้ำไว้จึงทำให้สามารถลดปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

\"สทนช.\"เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

 

3.3 สถานการณ์น้ำแม่น้ำวัง ปัจจุบันสถานการณ์แม่น้ำแม่น้ำวังอยู่ในสภาวะปกติ ปัจจุบันเขื่อนกิ่วคอหมา ระบายน้ำในอัตรา 125 ลบม/วินาที ลดลงจากมื้อวาน 12 ลบม/วินาที และเชื่อนกิวลม ระบายน้ำในอัตรา 354 ลบ.ม/วินาที เพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 55 ลบม/วินาที โดยทั้งสองเขื่อนได้บริหารให้มีผลกระทบต่อท้ายน้ำน้อยที่สุด ส่งผลให้สถานการณ์บริเวณลุ่มน้ำวังท้ายเชื่อนกิ่วลม เขื่อนกิ่วคอหมา ล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่การเกษตร และพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำวัง บริเวณ ต.ปงดอน ต.แจ้ห่ม ต.วิเชตนคร ต.บ้านสา และ ต.แม่สุก อ.เมือง จ.ลำปาง

 

3.4 สถานการณ์น้ำแม่น้ำยม ปัจจุบันสถานการณ์แม่น้ำยมส่วนใหญ่อยู่ในสภาวะปกติ ยกเว้น บริเวณสถานี Y.64 ต.บางระกำ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ปัจจุบันระดับน้ำ 9.01 ม. (สูงกว่าตลิง 2.61 ม.) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และ สถานี Y.16 ต.บางระกำ จ.พิษณุโลก ระดับน้ำ 9.98 ม. สูงกว่าระดับตลิ่ง 2.68 ม. (ระดับตลิ่ง 7.30 ม) ระดับน้ำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

3.5 สถานการณ์แม่น้ำน่าน ปัจจุบันสถานการณ์น้ำอยู่ในสภาวะปกติ ปริมาณฝนที่ตกเพิ่มไม่ก่ม่ก่อให้เกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่

\"สทนช.\"เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

 

3.6 สถานการณ์แม่น้ำป้าสัก ปัจจุบันสถานการณ์น้ำอณ์น้ำอยู่ในสภาวะปกติ และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ได้ระบายน้ำในอัตรา 250 ลบ ม/วินาที ลดลงจากเมื่อวาน 50 ลบ.ม/วินาที โดยเชื่อนปาสักชลสิทธิ์ได้บริหารให้มีผลกระทบต่อท้ายน้ำน้อยที่สุด ส่งผลให้ระดับน้ำแม่น้ำป่าสักเพิ่มสูงสูงขึ้นจากเดิมอีกประมาณ 1.00 - 1.20 ม. โดยระดับน้ำที่เพิ่มสูงขึ้น ยังอยู่ในลำน้ำและไม่เกิดสภาวะน้ำล้นตล้นตลิ่งแม่น้ำป่าสัก

3.7 สถานการณ์แม่น้ำเจ้าพระยา บริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาที่สถานี C2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ความจุลำน้ำ 3,660 ลบ.ม/วินาที ปัจจุบันมีปริมาณน้ำ 2,371 ลบ.ม/วินาที (ร้อยละ 65 ของความจุลำนำ) คาดว่าในช่วง 7 วันข้างหน้า จะมีปริมาณน้ำจะอยู่ในช่วง 2,201 - 2,377 ลบ.ม/วินาที (ร้อยละ 60 - 65 ของความจุล้ำน้ำน้ำ) ปัจจุบันเขื่อนเจ้าพระยา ระบายน้ำในอัตรา 1,999 ลบ.ม/วินาที โดยจะปรับการระบายทยอยจากอัตรา 1,999 ลบ.ม/วินาที เป็นอัตรา 2,050 ลบ.ม/วินาที ในวันที่ 5 ต.ค. 67 เวลา 15:00 น. สำหรับสถานี C.29A ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยธยามีความจุลำน้ำ 3,500 ลบม/วินาที ปัจจุบันมีปริมาณน้ำ 2,044 ลบ.ม/วินาที (ร้อยละ 58 ของความจุลำน้ำ)

3.8 สถานการณ์แม่น้ำชี ปัจจุบันสถานการณ์น้ำลันตลิ่งบริเวณแม่น้ำชีที่สถานี E.E.8A อ.เมือง จ.มหาสารคาม ปัจจุบันมีระดับน้ำ 9.63 ม. (สูงกว่าตลิ่ง 0.13 ม) ระดับน้ำมีแนวโน้มลดลง สถานี E666A อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด ปัจจุบัน มีระดับน้ำ 12:03 ม. (สูงกว่าตลิ่ง 0.43 ม.) ระดับน้ำมีแนวโน้มลดลง และสถานี E.85 อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น ปัจจุบันมีระดับน้ำ 5.42 ม. (ต่ำกว่าตลิ่ง 0.22 ม.) แนวโน้มลดลง

3.9 สถานการณ์แม่น้ำมูล ปัจจุบันสถานการณ์แม่น้ำมูลอยู่ในสภาวะปกติ สถานี M.7 อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี ปัจจุบันมีระดับน้ำ 6.50 ม. (ต่ำกว่าตลิง 0.50 ม.) ระดับน้ำมีแนวโน้มทรงตัว

3.10 สถานการณ์แม่น้ำโขงตะวันออกเฉียงเฉียงเหนือ ปัจจุบันสถานการณ์แม่น้ำโขงภายในประเทศอยู่ในสภาวะปกติ และแม่น้ำโขงตะวันออกเฉียงหนือเกิดสถานการณ์น้ำล้นตลิ่งบริเวณแม่น้ำสงคราม ที่สถานี Kr.74.74 อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร ปัจจุบันมีระดับน้ำ 8.66 ม. (ตำกว่าตลิ่ง 0.84 ม.) ระดับน้ำมีแนวโน้มลดลง สถานี Kh.103 ห้วยหลวง อ.เมืองฯ จ.อุดรธานี ปัจจุบันมีระดับน้ำ 5.09 ม. (สูงกว่าตลิ่ง 0.09 ม.) แนวโน้มลดลง และเขื่อนห้วยหลวงได้เพิ่มปริมาณ การระบายเป็น 4.81 ล้าน ลบ.ม./วัน โดยเขื่อนห้วยหลวงได้บริหารให้มีผลกระทบต่อท้ายน้ำน้อยที่สุด

 

\"สทนช.\"เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

 

 

4. สถานการณ์น้ำท่วมปัจจุบัน พบในพื้นที่ 20 จังหวัด ได้แก่ จ.แม่ฮ่องสอน (อ.เมืองฯ) จ.เชียงใหม่ (อ.เมืองฯ แม่แตง แม่ริม สาวภี ทางดง สันปาตอง และดอยหล่อ) จ.เซียงราย (อเมืองฯ แม่สาย เวียงป้าเป้าเวียงชัย และแม่ลาว)จ.ลำพูน (อ.เมืองฯ แม่ทา และป่าชาง) จ.ลำปาง (อ.แจ้ห่ม แม่พริก และงาว) จ.พะเยา (อ.แม่ใจ) จ.ตาก (อ.สามเงา บ้านตากอุ้มผาง พบพระ และแม่สอด) จ.พิษณุโลก (อ.เมืองฯ วัดโบสถ์ พรหมพิราม บางระกำ บางกระทุ่ม วังทอง และนครไทย) จ.สุโขทัย (อ.เมืองฯ ศรีสำโรง และสวรรคโลก) จ.เพชรณ์ (อ.เมืองฯ น้ำหนาว และหนองไผ่) จ.เลย (อ.ฎกระดึง วังสะพุงและภูเรือ) จ.อุตรธานี (อ.เมืองฯ และสร้างคอม) จ.ชัยภูมิ (อ.คอนสวรรค์ และจัตุรัส) จ.ขอนแก่น (อ.ภูผาม่าน) จ.กาฬสินธุ์(อ.ยางตลาด และหนองกุงศรี) จ.มหาสารคาม (อ.เมืองฯ กันทรวิชัย โกสุมพิสัย และเซียงยืน) จ.อุบสราชธานี (อ.เมืองฯ และสว่างวีระวงศ์) จ.อ่างทอง (อ.เมืองฯ วิเศษชัยชาญ และไซโย) จ.พระนครศรีอุยุธยา (อ.พระนครศรีอยุธยา บางบาล บางปะอิน บางปะหัน ผักไห่ เสนา และบางไทร) และ จ.นครศรีธรรมราช (อ.ทุ่งสง)

5. การช่วยเหลือ

5.1 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 ก.ย. 67 ได้อนุมัติกรอบวงเงิน 3,045 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือ และเยียวยาความเดือดร้อนให้แก่ผู้ประสบอุทกภัยในช่วงฤดูฝน ปี 2567 ปัจจุบันกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ดำเนินการใช้จ่ายเงินทดรองราชการไปแล้ว 40,199,790.04 บาท

5.2 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อพยพสัตว์ 719,955 ตัว หญ้าอาหารสัตว์พระราชทาน 863,210 กิโลกรัมส่งเสริมสุขภาพสัตว์ (แร่ธาต/ยาปฏิชีวนะ/วิตามิน) 25,170 ซอง รักษาสัตว์ 7,498 ตัว ถุงยังชีพสัตว์ 366 ถุง พร้อมทั้งจัดตั้งสถานที่พักพิงสัตว์ชั่วคราวพร้อมสัตว์แพทย์และเจ้าหน้าที่ช่วยดูแลสุขภาพสัตว์

5.3 กระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3,649 ทีม สนับสนุนยาและเวชภัณฑ์รวม 245,969 ชุด ดูแลประชาชน รวม 204,654 คน / ดูแลประชาชนด้านสุขภาพจิต รวม 41,543 คน และเฝ้าระวัะวังติดตามสถานการณ์พร้อมสื่อสารเตือนภัยประชาชน ทั้งโรคและภัยสุขภาพมาจาก อุทกภัย เช่น ฉีหนู ใช้เลือดออกท้องเสีย ปอดอักเสบ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น (ข้อมูลระหว่างวันที่ 17 สิงหาคม - 4 ตุลาคม 2567)

5.4 กระทรวงคมนาคม ให้ความช่วยเหลือประชาชน ด้วยถงยังชีพ 640 ถุง อาหารกล่อง 100 กล่อง น้ำดื่ม 557 ชุด และกู้คืน/ซ่อมแซมถนน 356 แห่ง รางรถไพ 13 แห่ง อยู่ระหว่างดำเนินการซ่อมแซมถนน 6 แห่ง

\"สทนช.\"เตือน 10 จังหวัด คาดน้ำเพิ่มระดับต่อเนื่อง 5 - 7 ต.ค.นี้

 

5.5 กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธาธารณภัยแห่งชาติ จัดกำลังพล เจ้าหน้าที่ และอาสาสมัคร จำนวน 5.879 นายใช้เครื่องจักร 1.991 หน่วย ช่วยเหลือพื้นที่ประสบอทกภัยทั่วประเทศ แบ่งเป็น อากาศยาน 14 ลำ รถบรรทุกน้ำ 38 คัน รถบรรทุกขนย้ายผู้ประสบภัย 104 คัน รถบรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง 1 คัน เรือผลักดันน้ำ 114 เครื่องเรือชนิดต่างๆ 145 ลำ รถ/เครื่องสูบน้ำ 893 เครื่อง รถบรรทุกขนาดเล็ก 27 คัน รถกำเนิดไฟฟ้า 3 คัน รถผลิตน้ำดื่ม 2 คัน รถประกอบอาหาร/โรงครัวพระราชทาน 3 คัน และ อื่นๆ 637 หน่วย

6. ประกาศแจ้งเตือน

6.1 สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ประกาศ เฝ้าระวัง น้ำล้นตลิ่ง และน้ำท่วมขังแม่น้ำปิง ช่วงวันที่ 3 - 6 ตุลาคม 2567 เนื่องจากเกิดฝนตกหนักในพื้นที่ลุ่มน้ำปิง ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำปิงและแม่น้ำสาสาชาเพิ่มสูงขึ้นมีแนวโน้ม ลันตลิ่ง คาดว่าที่สะพานนวรัฐ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จะมีระดับน้ำสูงสุดสูงกว่าระดับตลิ่งชั่วคราว 1.60 ม. ในวันที่ 6 ต.ค. 67 เฝ้าระวังพื้นที่ริมลำน้ำ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ บริเวณ อ.เมืองฯ สารภี ทางดง สันปาตอง และดอยหล่อ จ.ลำพูน บริเวณ อ.เมืองฯ ป่าซาง และเวียงหนองล่อง

7. การคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยล่วงหน้า 3 วัน ในช่วงวันที่ 5 - 7 ต.ค. 67 สทนช. ประเมินที่เสี่ยง อุทกภัยล่วงหน้า 3 วัน พบว่ามีพื้นที่เสี่ยง จำนวน 10 จังหวัด ได้แก่ จ.พังงา (อ.กะปง ทับปุด และเมืองฯ) จ.สงขลา (อ.ระโนด) จ.ตรัง (อ.ห้วยอด นาโยง วังวิเศษ สิเกา เมืองตรัง ย่าว และรัษฎา) จ.สุราษฎร์ธานี (อ.บ้านนาสาร พนม และเวียงสระ) จ.นครศรีธรรมราช (อ.พิปุ่น และฉวาง) จ.สตูล (องทุ่งหว้า และควนกาหลง) จ.กระบี่ (อ.อ่าวลึก เมืองกระบี่ มะนัง และ คลองท่อม) จ.ระนอง (อ.เมืองระนอง) จ.นราธิวาส (อ.สุคิริน) และ จ.ปัตตานี (อ.โคกโพธิ์)